6/25/2555

Compare Effects of Policy between Keynesian and Monetarists

Compare Effects of Policy between Keynesian and Monetarists

การวิเคราะห์นโยบายการเงินการคลัง ตามแนวคิดของสำนักการเงินนิยมเปรียบเทียบกับสำนักเคนส์เซียน


สำนักการเงินนิยมมองว่าภาคเอกชนเป็น Shock-absorbing และ Stable และเจ้าหน้าที่ทางการเงินไม่มีความจำเป็นต้องเข้าแทรกแซงเพื่อลดความเบี่ยงเบน และรักษาเสถียรภาพของรายได้ เพราะมีผลกระทบต่อรายได้ที่แท้จริงน้อย
สำนักเคนส์เซียนมองว่า ภาคเอกชนทำให้ระบบเศรษฐกิจไม่มีเสถียรภาพ ภาคเอกชนเป็น Shock-producing และ Unstable และเจ้าหน้าที่ทางการเงินจำเป็นต้องเข้าแทรกแซงเพื่อลดความเบี่ยงเบน และรักษาเสถียรภาพของรายได้
Keynesian ไม่เห็นด้วยกับการดำเนินนโยบายการเงินแบบ Constant Money Growth Rate Rule นอกจากนี้ยังสามารถคำนวณ พยากรณ์ขนาดและระยะเวลาที่ Shock จะส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจได้

Monetarists
Keynesian
เห็นด้วยกับ Strong Quantity Theoryไม่เห็นด้วยกับ Strong Quantity Theory
เงินมีความสำคัญในการกำหนดรายได้ที่เป็นตัวเงินเงินเป็นเพียงปัจจัยหนึ่งในหลายปัจจัยที่มีผลต่อรายได้ที่เป็นตัวเงิน
เสนอให้ใช้ Growth Rate Rule for Money Stockเสนอให้ใช้นโยบายการเงินและการคลัง


Monetarist View

Monetarist เชื่อว่าความชันของเส้น IS มีน้อย ส่วนความชันของเส้น LM มีมาก ดังรูปข้างด้านล่างนี้




กำหนดให้ระบบเศรษฐกิจในขณะนี้อยู่ในภาวะดุลยภาพ (Y0,r0) ต่อมาเมื่อรัฐบาลดำเนินนโยบายการคลังแบบขยายตัว (เพิ่มการใช้จ่ายของภาครัฐบาล,ลดการเก็บภาษี) ทำให้เส้น IS ขยับไปเป็นเส้น IS' ดังรูปด้านล่างนี้




ผลจากการดำเนินนโยบาย ทำให้รายได้ (Y) เพิ่มขึ้นจาก Y0 เป็น Y1 ในระดับอัตราดอกเบี้ย r0 ดังรูปด้านล่างนี้




แต่การดำเนินนโยบายการคลังแบบขยายตัวของภาครัฐบาลทำให้เกิด Crowding-Out Effect อีกด้วย ทำให้ผลกระทบที่มีต่อรายได้ลดเหลือเพียงจาก Y1 เป็น Y2 ดังรูปด้านล่างนี้




นอกจากนี้ ยังส่งผลทำให้อัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นจาก r0 เป็น r1 ดังนั้นดุลยภาพใหม่ของระบบเศรษฐกิจนี้จะอยู่ ณ ระดับที่ r1,Y1 ดังรูปด้านล่างนี้



หากรัฐบาลใช้นโยบายการเงินแบบขยายตัว (เพิ่มปริมาณเงิน) จะส่งผลให้เส้น LM ขยับไปเป็น LM' ดังรูปด้านล่างนี้




ผลจากการดำเนินนโยบาย ทำให้รายได้เพิ่มขึ้นจาก Y0 เป็น Y1 ดังรูปด้านล่างนี้




แต่การดำเนินนโยบายการเงินแบบขยายตัวของภาครัฐบาลทำให้เกิด Crowding-Out Effect อีกด้วย ทำให้ผลกระทบที่มีต่อรายได้ลดเหลือเพียงจาก Y1 เป็น Y2 ดังรูปด้านล่างนี้




นอกจากนี้ ยังส่งผลทำให้อัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นจาก r0 เป็น r1 ดังนั้นดุลยภาพใหม่ของระบบเศรษฐกิจนี้จะอยู่ ณ ระดับที่ r1,Y1 ดังรูปด้านล่างนี้




Keynesian View

Early Keynesian เชื่อว่าเส้น LM มีความชันน้อย และเส้น IS มีความชันมาก ดังรูปข้างล่างนี้




กำหนดให้ระบบเศรษฐกิจในขณะนี้อยู่ในภาวะดุลยภาพ (Y0,r0) ต่อมาเมื่อรัฐบาลดำเนินนโยบายการคลังแบบขยายตัว (เพิ่มการใช้จ่ายของภาครัฐบาล,ลดการเก็บภาษี) ทำให้เส้น IS ขยับไปเป็นเส้น IS' ดังรูปด้านล่างนี้




ผลจากการดำเนินนโยบาย ทำให้รายได้ (Y) เพิ่มขึ้นจาก Y0 เป็น Y1 ในระดับอัตราดอกเบี้ย r0 ดังรูปด้านล่างนี้




แต่การดำเนินนโยบายการคลังแบบขยายตัวของภาครัฐบาลทำให้เกิด Crowding-Out Effect อีกด้วย ทำให้ผลกระทบที่มีต่อรายได้ลดเหลือเพียงจาก Y1 เป็น Y2 ดังรูปด้านล่างนี้




นอกจากนี้ ยังส่งผลทำให้อัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นจาก r0 เป็น r1 ดังนั้นดุลยภาพใหม่ของระบบเศรษฐกิจนี้จะอยู่ ณ ระดับที่ r1,Y1 ดังรูปด้านล่างนี้



หากรัฐบาลใช้นโยบายการเงินแบบขยายตัว (เพิ่มปริมาณเงิน) จะส่งผลให้เส้น LM ขยับไปเป็น LM' ดังรูปด้านล่างนี้




ผลจากการดำเนินนโยบาย ทำให้รายได้เพิ่มขึ้นจาก Y0 เป็น Y1 ดังรูปด้านล่างนี้




แต่การดำเนินนโยบายการเงินแบบขยายตัวของภาครัฐบาลทำให้เกิด Crowding-Out Effect อีกด้วย ทำให้ผลกระทบที่มีต่อรายได้ลดเหลือเพียงจาก Y1 เป็น Y2 ดังรูปด้านล่างนี้




นอกจากนี้ ยังส่งผลทำให้อัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นจาก r0 เป็น r1 ดังนั้นดุลยภาพใหม่ของระบบเศรษฐกิจนี้จะอยู่ ณ ระดับที่ r1,Y1 ดังรูปด้านล่างนี้




สรุปตารางเปรียบเทียบผลทางนโยบายของ Monetarists และ Keynesians

MonetaristsKeynesians
Monetary Policyมีผลกระทบมากมีผลกระทบน้อย
Fiscal Policyมีผลกระทบน้อยมีผลกระทบมาก

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น